Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/1521
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พัชรี, ปิยภัณฑ์ | - |
dc.contributor.author | Piyapan, Patcharee | - |
dc.date.accessioned | 2019-09-12T03:00:55Z | - |
dc.date.available | 2019-09-12T03:00:55Z | - |
dc.date.issued | 2015-01 | - |
dc.identifier.uri | http://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/1521 | - |
dc.identifier.uri | https://research.dru.ac.th/o-journal/index.php?url=abstract.php&abs_id=153&jn_id=18 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูลและทักษะการตั้งโจทย์วิจัยของนักศึกษาครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 2) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลวิธีการและเวลาที่ใช้ในการพัฒนาทักษะของนักศึกษาเป็นรายบุคคล และ 3) เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษากลุ่มทดลองและนักศึกษากลุ่มควบคุม ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน (mixed-method research) ด้วยการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีการศึกษา 2555 ภาคเรียนที่ 2 จำานวน 2 ห้องเรียน จำาแนกเป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้องเรียน นักศึกษา 38 คน และ กล่มุควบคุม 1 ห้องเรียน นักศึกษา 43 คน ซึ่งส่มุ กล่มุ ตัวอย่างโดยใช้วิธีการส่มุ แบบกล่มุ (cluster random sampling) ใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบบันทึกทักษะด้านการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) จำานวนนักศึกษาร้อยละ 73.68 สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ได้ตั้งแต่ 2 แหล่งขึ้นไปและจำานวนนักศึกษา ร้อยละ 71.05 ที่ข้อมูลที่สืบค้นได้มีความน่าเชื่อถือ ด้านทักษะการสร้างโจทย์วิจัย พบว่า นักศึกษา ร้อยละ 21.05 สามารถสร้างโจทย์วิจัยได้ในระดับโจทย์ปัญหาที่ต้องการศึกษา ซึ่งนำาไปทำาวิจัยได้ 2) วิธีการที่ใช้ในการพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูลและทักษะการตั้งโจทย์วิจัยครั้งนี้ใช้กระบวนการจัดการเรียนการสอน 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นเร้าความสนใจ ขั้นให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติ ขั้นสะท้อนความรู้ ขนั้ สร้างความรู้ และขั้นประเมินผล เวลาที่ใช้ในการพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูล และตั้งโจทย์วิจัย ใช้เวลาโดยเฉลี่ยประมาณ 70 ชั่วโมง 3) คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | Dhonburi Rajabhat University. Office of Academic Journal Project. | en_US |
dc.subject | การสืบค้น | en_US |
dc.subject | ทักษะการสืบค้นข้อมูล | en_US |
dc.subject | การตั้งโจทย์วิจัย | en_US |
dc.subject | คณะครุศาสตร์ | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี | en_US |
dc.title | กระบวนการพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูล และตั้งโจทย์วิจัยของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Information Searching and Research Design Skills of Students, Faculty of Education, Dhonburi Rajabhat University | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Article Dhonburi Rajabhat University - บทความ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
กระบวนการพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูลและตั้งโจทย์วิจัยของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.pdf | บทความ | 92.73 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.