Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/1834
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปรีชา, เครือโสม-
dc.contributor.authorKhrueasom, Preecha-
dc.contributor.authorเฉลิมชัย, ภูริพัฒน์-
dc.contributor.authorPuripat, Chalermchai-
dc.contributor.authorพิณรัตน์, นุชโพธิ์-
dc.contributor.authorNuchpho, Pinnarat-
dc.contributor.authorประเสริฐ, เผ่าชู-
dc.contributor.authorPhaochoo, Prasert-
dc.date.accessioned2023-02-10T08:18:59Z-
dc.date.available2023-02-10T08:18:59Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/1834-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาและประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกรย์ในการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิต 2) เพื่อสร้างแบบจำลองและแผนภูมิการควบคุมคุณภาพบนพื้นฐานทฤษฎีเกรย์ 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการควบคุมคุณภาพบนพื้นฐานทฤษฎีเกรย์กับวิธีการควบคุมคุณภาพแบบเดิม ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ของแผนภูมิการควบคุมคุณภาพใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการสร้างค่าพารามิเตอร์ตัวอย่างสุ่มจากประชากรที่มีความแจกแจงปกติที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10 และความแปรปรวนเท่ากับ 1 พร้อมทั้งทำการเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ยของกระบวนการให้มีขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ ตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า ประการที่ 1 การควบคุมคุณภาพบนพื้นฐานทฤษฎีเกรย์ (Grey Control Charts, GCC) มีความเหมาะสมและสามารถประยุกต์ใช้ในการการควบคุมคุณภาพได้ ประการที่ 2 เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ยของกระบวนการเพิ่มมากขึ้นช่วงขอบเขตควบคุมแผนภูมิ GCC ขอบเขตควบคุมแผนภูมิขนาดของความกว้างของช่วงแผนภูมิจะกว้างขึ้น โดยที่ผลต่างของขอบเขตบนและขอบเขตล่างแผนภูมิ 1.73 S หรือข้อมูลที่กระจายตัวมากภายในเขตควบคุม ประการที่ 3 แผนภูมิ GCC มีประสิทธิภาพในการควบคุมมากกว่าบนแผนภูมิควบคุมถดถอยเชิงเส้นตรง (Regression Control Charts, RCC) เนื่องจากมีค่า ที่มากกว่าอย่างชัดเจนทั้งนี้เมื่อเทียบกับค่าทางทฤษฎี แผนภูมิ GCC มีค่าร้อยละ 76.49 เมื่อเทียบกับค่าทางทฤษฎี (ค่าเท่ากับ 370) ในขณะที่แผนภูมิ RCC มีค่าร้อยละ 58.79 การเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ยของกระบวนการให้มีขนาดเล็ก ปานกลาง และใหญ่ ตามลำดับหรือเมื่อกระบวนการผลิตไม่ภายใต้การควบคุมค่า ของแผนภูมิทั้ง 2 วิธี มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกันไม่มีความแตกต่างen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat University. research and development institute .en_US
dc.subjectการควบคุมคุณภาพen_US
dc.subjectแผนภูมิควบคุมen_US
dc.subjectทฤษฎีเกรย์en_US
dc.subjectการถดถอยเชิงเส้นen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีen_US
dc.titleการควบคุมคุณภาพบนพื้นฐานทฤษฎีเกรย์en_US
dc.title.alternativeQuality Control Chart Based on Grey Systems Theoryen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:Research Dhonburi Rajabhat University - งานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Title.pdfปก186.78 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfบทคัดย่อ257.22 kBAdobe PDFView/Open
Acknowledgement.pdfกิตติกรรมประกาศ75.87 kBAdobe PDFView/Open
Table of content.pdfสารบัญ270.07 kBAdobe PDFView/Open
Unit 1.pdfบทที่ 1212.55 kBAdobe PDFView/Open
Unit 2.pdfบทที่ 22.31 MBAdobe PDFView/Open
Unit 3.pdfบทที่ 3505.07 kBAdobe PDFView/Open
Unit 4.pdfบทที่ 4962.31 kBAdobe PDFView/Open
Unit 5.pdfบทที่ 5192.98 kBAdobe PDFView/Open
Bib.pdfบรรณานุกรม136.98 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfภาคผนวก196.78 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.