Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/1839
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจีรภัทร, อาดนารี-
dc.contributor.authorArdnaree, Jeerapat-
dc.contributor.authorปรีชา, ธนะวิบูลย์-
dc.contributor.authorThanawiboon, Preecha-
dc.contributor.authorนงเยาว์, อุทุมพร-
dc.contributor.authorUtoomporn, Nongyao-
dc.date.accessioned2023-02-10T09:04:03Z-
dc.date.available2023-02-10T09:04:03Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/1839-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการจัดการความรู้และการถอดบทเรียนภูมิปัญญาท้องถิ่นในอำเภอเมืองสมุทรปราการ 2) เพื่อศึกษาการบูรณาการองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในอำเภอเมืองสมุทรปราการสู่หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการเรียนรู้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วยผู้ทรงภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน 10 คนรวม 12 ภูมิปัญญา ศึกษานิเทศก์ ครู/อาจารย์ผู้สอน และผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอเมืองสมุทรปราการ ทั้งหมดเป็นเพศหญิง มีอายุ 40 - 60 ปีและ 61 ปีขึ้นไป เท่ากัน จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา อาศัยอยู่ในตำบลบางด้วนมากที่สุด ผลงานส่วนใหญ่เป็นงานที่ต้องใช้ฝีมือและมีความเก่าแก่ สาขาที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่นมากที่สุดคือ สาขาศิลปกรรม (ด้านหัตถกรรม) รองลงมาคือ สาขาคหกรรมด้านอาหาร กระบวนการเรียนรู้และสั่งสมประสบการณ์มีลักษณะที่แตกต่างกันคือ การเรียนรู้ด้วยตนเอง การสืบทอดจากบรรพบุรุษ การเรียนรู้จากครูอาจารย์ และการรับการฝึกอบรม สำหรับกรรมวิธีในการผลิตก็จะไม่ซับซ้อนเน้นการผลิตที่ทำกันได้ง่าย และใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น 2) การบูรณาการองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในอำเภอเมืองสมุทรปราการสู่หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการเรียนรู้ สามารถบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้ทั้งในรายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยสามารถนำไปบูรณาการในสาระการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด และหลักการใช้ภาษาไทยในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat University. research and development institute .en_US
dc.subjectการจัดการความรู้en_US
dc.subjectการถอดบทเรียนen_US
dc.subjectภูมิปัญญาท้องถิ่นen_US
dc.subjectหลักสูตรสถานศึกษาen_US
dc.subjectสมุทรปราการen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีen_US
dc.titleการจัดการความรู้และการถอดบทเรียนภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการสู่หลักสูตรสถานศึกษาในอำเภอเมืองสมุทรปราการen_US
dc.title.alternativeKnowledge management and local wisdom lesson distilled in integration to school curriculum on Muang Samut Prakan Districten_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:Research Dhonburi Rajabhat University - งานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Title.pdfปก98.46 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfบทคัดย่อ129.94 kBAdobe PDFView/Open
Acknowledgement.pdfกิตติกรรมประกาศ65.25 kBAdobe PDFView/Open
Table of content.pdfสารบัญ237.5 kBAdobe PDFView/Open
Unit 1.pdfบทที่ 1199.86 kBAdobe PDFView/Open
Unit 2.pdfบทที่ 21.31 MBAdobe PDFView/Open
Unit 3.pdfบทที่ 3147.66 kBAdobe PDFView/Open
Unit 4.pdfบทที่ 42.33 MBAdobe PDFView/Open
Unit 5.pdfบทที่ 5325.91 kBAdobe PDFView/Open
Bib.pdfบรรณานุกรม207.21 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfภาคผนวก2.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.