Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/1711
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศศิอาภา, บุญคง-
dc.contributor.authorBoonkong, Sasiapa-
dc.contributor.authorข่ายทอง, ชุนหสุวรรณ-
dc.contributor.authorChunhasuwan, Khaitong-
dc.contributor.authorบุษกร, สุทธิประภา-
dc.contributor.authorSuttiprapa, Bussakorn-
dc.date.accessioned2022-03-10T02:54:51Z-
dc.date.available2022-03-10T02:54:51Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/1711-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาในการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ขนมไทยของชุมชนตรอกข้าวเม่า ซึ่งมีการผลิตขนมไทย 4 ชนิด ได้แก่ กาละแมเม็ด ข้าวเหนียวแดง กระยาสารท และข้าวเม่าหมี่ พบว่า สภาพปัญหาในการผลิตและและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ขนมไทยแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ ด้านการผลิต และด้านการจำหน่าย ส่วนการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ขนมไทยของชุมชนตรอกข้าวเม่า ด้านสถานประกอบการสามารถพัฒนาให้เป็นไปตามหลักสุขาภิบาลอาหารมากขึ้น ส่วนพฤติกรรมการบริโภคขนมไทย พบว่า ผู้บริโภคเลือกซื้อขนมไทยในด้านรสชาติมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์ รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และซื้อฝาก ตามลำดับ โดยส่วนใหญ่ต้องการให้มีการพัฒนาช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์มากที่สุด นอกจากนี้ผู้บริโภคต้องการให้มีการพัฒนารูปลักษณ์ของกาละแมและข้าวเหนียวแดงให้มีขนาดชิ้นพอคำ และฉลากผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมไทยภายใต้ ตราสัญลักษณ์ “ขนมไทยบ้านข้าวเม่า” อย่างไรก็ตามการศึกษาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ ณ อุณหภูมิห้อง พบว่า ผลิตภัณฑ์กระยาสารทและข้าวเม่าหมี่ควรเก็บรักษาด้วยถุง PA และผลิตภัณฑ์ข้าวเม่าหมี่ควรเก็บรักษาด้วยถุง PE ส่วนการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส สามารถเก็บรักษาในบรรจุภัณฑ์ได้ทั้ง 3 ชนิด แต่สาหรับกาละแมควรเก็บรักษาด้วยถุง PA มากที่สุด แม้ว่าผลของเชื้อจุลินทรีย์ยังไม่เป็นไปตามมาตรฐาน และการพัฒนาช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ขนมไทย ควรมีการส่งเสริมให้มีศักยภาพการผลิต โดยมีทั้งช่องทางการจัดจำหน่ายตรง และช่องทางการจัดจำหน่ายทางอ้อม เช่น ร้านสะดวกห้างสรรพสินค้า ร้านค้าในแหล่งซื้อ ร้านค้าของผู้ผลิต ช่องทางการสั่งซื้อผ่านระบบอินเตอร์เน็ต และร้านค้าปลีกขนมไทยที่มีชื่อเสียงen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat University. Research and Development Institute.en_US
dc.subjectขนมไทยen_US
dc.subjectภูมิปัญญาท้องถิ่นen_US
dc.subjectชุมชนตรอกข้าวเม่าen_US
dc.subjectงานวิจัยen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีen_US
dc.titleการวิจัยและพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ขนมไทยนำภูมิปัญญาไทยสู่สากล กรณีศึกษาชุมชนตรอกข้าวเม่า เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeResearch and Development of Thai Dessert Being Thai Wisdom to the World: A case Trokkaomow community in Bangkok-noi District, Bangkoken_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:Research Dhonburi Rajabhat University - งานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Title.pdfปก128.41 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfบทคัดย่อ215.26 kBAdobe PDFView/Open
Acknowledgement.pdfกิตติกรรมประกาศ211.82 kBAdobe PDFView/Open
Table of contents.pdfสารบัญ112.25 kBAdobe PDFView/Open
Unit 1.pdfบทที่ 1188.5 kBAdobe PDFView/Open
Unit 2.pdfบทที่ 2717.88 kBAdobe PDFView/Open
Unit 3.pdfบทที่ 3442.3 kBAdobe PDFView/Open
Unit 4.pdfบทที่ 4570.67 kBAdobe PDFView/Open
Unit 5.pdfบทที่ 5206.13 kBAdobe PDFView/Open
Bib.pdfบรรณานุกรม212.82 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfภาคผนวก439.69 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.