Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/395
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปณต, จตุพศ-
dc.contributor.authorJatupost, Panost-
dc.date.accessioned2017-08-18T08:18:51Z-
dc.date.available2017-08-18T08:18:51Z-
dc.date.issued2008-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/395-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงต์เพื่อ 1)เพื่อศึกษาสภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรยงเรียนมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรีเขต2 ในภาพรวม 2)เพื่อเปรียบเทียบสภาพการบริหารโดยใช้โรงเดรียนเป็นฐาน๘องโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต2 ตามสถานภาพของบุคลากรคือคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เเละครูผู้สอนในสถานศึกษา 3)เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค เเละข้อเสนอเเนะในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรีเขต2 การวิจัยครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้ประชากรในการวิจัย ที่เป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนมัธยมศึกษษในเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรีเขต 2 ทั้งหมดจำนาวน 135 คน เเละกลุ่มตัวอย่างที่เป็นครูผู้สอนในสถานศึกษาได้เเก่การสุ่มอย่างง่ายจำนวน 108 คน รวมประชากร 240 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ เเบบสอบถามมาตรส่วนประมานค่า 5ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท้ากับ .92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยโดยการวิเคราะห์เชิงปริมาน ได่เเก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เเละการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า 1)สภาพการปฎิบัติงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ ด้านการตั้งเป้าหมาย ด้านการสร้างพันธสัญญาร่วมกัน ด้านการสร้างความรู้สึกเป็นเจ้่าของ ด้านการสร้างระบบการบริหารงาน ด้านการเพิ่มอำนาจ ด้านผลการปฎิบัติงานด้านการมีกฎบัตรว่าสิทธิในการทำงานเเเละด้านการจัดการเรียนการสอน 2) การเปรียบเทียบระดับสภาพการปฎิบัติงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เเละครูผู้สอนในสถานศึกษาพบว่า ครูผู้สอนในสถานศึกษามีการปฎิบัติงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานสูงกว่าคณะกรรมการสถานศึกษาเเละเเตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3)ผู้ตอบเเเบบสอบถามส่วนใหญ่เเสดงความคิดเห็นเเละให้ข้อเสนอเเนะว่า โรงเรียนควรบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานให้มากขึ้นในเรื่องเหล่านี้ คือ การส่งเสริมให้ผู้ปกครอง ชุมชนมีส่วนร่วมในด้านวิชาการ การนำภูมิปัญญาท้อวถิ่นมาใช้ การพัฒนาเเละบริหารเเบบมีส่วนร่วม การจัดระบบประชาสัมพันธ์โรยงเรียนen_US
dc.language.isootheren_US
dc.subjectโรงเรียน - การบริหารen_US
dc.subjectโรงเรียน (วิทยานิพนธ์)en_US
dc.subjectวิทยานิพนธ์en_US
dc.titleการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2en_US
dc.title.alternativeScool Based Mangement of Secondary Scools In Nonthaburi Educational Service Area Office2en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thesis Dhonburi Rajabhat University - วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
title1.pdfปก2.11 MBAdobe PDFView/Open
title2.pdfหน้าอนุมัติ1.02 MBAdobe PDFView/Open
abstract.pdfบทคัดย่อ4.25 MBAdobe PDFView/Open
acknowledgements.pdfกิตติกรรมประกาศ11.49 MBAdobe PDFView/Open
table of contents.pdfสารบัญ5.22 MBAdobe PDFView/Open
unit 1.pdfบทที่ 129.24 MBAdobe PDFView/Open
unit 2.pdfบทที่ 272.23 MBAdobe PDFView/Open
unit 3.pdfบทที่ 311.77 MBAdobe PDFView/Open
unit 4.pdfบทที่ 425.44 MBAdobe PDFView/Open
unit 5.pdfบทที่ 530.19 MBAdobe PDFView/Open
bib.pdfบรรณานุกรม16.27 MBAdobe PDFView/Open
appendix.pdfภาคผนวก29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.