Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorประคอง, วีระศักดิ์-
dc.contributor.authorWeerasak, Prakong-
dc.date.accessioned2017-07-24T03:44:19Z-
dc.date.available2017-07-24T03:44:19Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/119-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาโอกาสเกิดความเสี่ยง ความรุนแรงของผลกระทบและระดับ ความเสี่ยงของการบริหารโรงเรียนสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 2) เปรียบเทียบระดับความเสี่ยง การบริหารโรงเรียนสมุทรปราการจำแนกตามตำแหน่งผู้บริหารและครู เพศ อายุ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ การทำงาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นผู้บริหาร 5 คน และครูโรงเรียนสมุทรปราการ จำนวน 161 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับโอกาสในการเกิดความเสี่ยงและความรุนแรง ของผลกระทบของการบริหารของผู้บริหารและครูโรงเรียนสมุทรปราการ ซึ่งเป็นลักษณะของแบบมาตรประมาณ ค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้สถิติทดสอบที และสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง เดียว ผลการวิจัย พบว่า 1) โอกาสเกิดความเสี่ยงของการบริหารความเสี่ยง ความรุนแรงของผลกระทบ และระดับความเสี่ยงของการบริหารความเสี่ยงโรงเรียนสมุทรปราการตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูใน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบระดับความเสี่ยงการบริหารโรงเรียนตามความคิดเห็นของผู้บริหาร และครูโรงเรียนสมุทรปราการในภาพรวมจำแนกตามเพศพบว่าเพศต่างกัน มีระดับความเสี่ยงการบริหารโรงเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามตำแหน่งพบว่า ตำแหน่งต่างกันมีระดับความเสี่ยง การบริหารโรงเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามอายุพบว่าอายุต่างกัน (ต่ำกว่า 30 ปี 30-40 ปี 41-50 ปี 51-60 ปี) มีระดับความเสี่ยงการบริหารโรงเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามประการณ์การทำงานพบว่ามีประสบการณ์การทำงานต่างกัน (ต่ำกว่า 6 ปี 6-15 ปี 16-25 ปีขึ้นไป) มีระดับความเสี่ยงการบริหารโรงเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามวุฒิการศึกษา พบว่าวุฒิการศึกษา (ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก) มีระดับความเสี่ยงการบริหารโรงเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat University. Office of Academic Resources And Information Technologyen_US
dc.subjectโรงเรียน - การควบคุมคุณภาพen_US
dc.subjectโรงเรียน - การบริหารen_US
dc.titleการบริหารความเสี่ยงของโรงเรียนสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการen_US
dc.title.alternativeRisk Management of Samutprakan School, Samutprakan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thesis Dhonburi Rajabhat University - วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
title1.pdfปก111.9 kBAdobe PDFView/Open
title2.pdfหน้าอนุมัติ65.44 kBAdobe PDFView/Open
abstract.pdfบทคัดย่อ94.51 kBAdobe PDFView/Open
acknowledgements.pdfกิตติกรรมประกาศ75.77 kBAdobe PDFView/Open
table of contents.pdfสารบัญ104.27 kBAdobe PDFView/Open
unit1.pdfบทที่ 1220.78 kBAdobe PDFView/Open
unit 2.pdfบทที่ 2936.48 kBAdobe PDFView/Open
unit 3.pdfบทที่ 3139.33 kBAdobe PDFView/Open
unit 4.pdfบทที่ 4375.31 kBAdobe PDFView/Open
unit5.pdfบทที่ 5191.26 kBAdobe PDFView/Open
bib.pdfบรรณานุกรม155.52 kBAdobe PDFView/Open
appendix.pdfภาคผนวก501.2 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.