Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/144
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมัชฌิมา, บรรดาศักดิ์-
dc.contributor.authorBundasak, Matchima-
dc.date.accessioned2017-07-25T11:47:51Z-
dc.date.available2017-07-25T11:47:51Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/144-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)สร้างและหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยรูปแบบซิปปา (CIPPA Model) บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องเครื่องปั้นดินเผาชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยรูปแบบซิปปา (CIPPA Model) บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องเครื่องปั้นดินเผาชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 3)ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยรูปแบบซิปปา (CIPPA Model) บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องเครื่องปั้นดินเผาชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนกสิณธรเซนต์ปีเตอร์ จังหวัดนนทบุรี จำนวน 1 ห้องเรียน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ และแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้สถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1)แผนการจัดการเรียนรู้โดยรูปแบบซิปปา (CIPPA Model) บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องเครื่องปั้นดินเผาชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.50/86.89 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยรูปแบบซิปปา (CIPPA Model) บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องเครื่องปั้นดินเผาชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยรูปแบบซิปปา (CIPPA Model) บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องเครื่องปั้นดินเผาชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat University. Office of Academic Resources And Information Technologyen_US
dc.subjectโครงการเสริมประสบการณ์การเรียนรู้สู่โลกกว้างen_US
dc.subjectเครื่องปั้นดินเผา - การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectศิลปกรรม - การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en_US
dc.subjectเครื่องปั้นดินเผา - เกาะเกร็ด (นนทบุรี)en_US
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยรูปแบบซิปปา(CIPPA MODEL) บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องเครื่องปั้นดินเผาชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรีที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3en_US
dc.title.alternativeThe Learning Outcome of using CIPPA Model Integrated with Local Wisdom in the Pottery of Koh Kret Community in Nonthaburi province towards the Learning Achievement in Science Learning Area of Students in Prathomsuksa 3en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thesis Dhonburi Rajabhat University - วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
title1.pdfปก367.18 kBAdobe PDFView/Open
title2.pdfหน้าอนุมัติ350.23 kBAdobe PDFView/Open
abstract.pdfบทคัดย่อ530.74 kBAdobe PDFView/Open
acknowledgement.pdfกิตติกรรมประกาศ455.26 kBAdobe PDFView/Open
table of contents.pdfสารบัญ1.19 MBAdobe PDFView/Open
unit1.pdfบทที่ 11.92 MBAdobe PDFView/Open
unit2.pdfบทที่ 29.59 MBAdobe PDFView/Open
unit3.pdfบทที่ 31.6 MBAdobe PDFView/Open
unit4.pdfบทที่ 4761.45 kBAdobe PDFView/Open
unit5.pdfบทที่ 5984.33 kBAdobe PDFView/Open
bib.pdfบรรณานุกรม837.11 kBAdobe PDFView/Open
appendix.pdfภาคผนวก17.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.