Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/1584
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกิตติพงษ์, วงศ์ทิพย์-
dc.contributor.authorWongtip, Kittipong-
dc.contributor.authorมีชัย, เอี่ยมจินดา-
dc.contributor.authorIemjinda, Meechai-
dc.date.accessioned2019-09-13T07:55:03Z-
dc.date.available2019-09-13T07:55:03Z-
dc.date.issued2018-07-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/1584-
dc.identifier.urihttps://research.dru.ac.th/o-journal/index.php?url=abstract.php&abs_id=485&jn_id=29en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน 2) ออกแบบและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน 3) ทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอน และ 4)ประเมินประสิทธิภาพรูปแบบการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จำนวน 30 คน ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา THAI 3206 การอ่านตีความ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านตีความ แผนการจัดการเรียนรู้ และแบบสอบถามความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย (x) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที(t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) การอ่านตีความมีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ดังนั้นจึงควรฝึกให้นักศึกษามีความสามารถในการอ่านตีความ 2) รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมี 2 ระยะ คือระยะที่ 1 การวางแผนและการเตรียมการเรียนรู้ของนักศึกษา ระยะที่ 2 ขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ขั้นตอนที่ 1 ขั้นก่อนอ่าน ได้แก่ ขั้นเรียนรู้ลักษณะบทอ่านขั้นให้เครื่องมือผ่านการสาธิต ขั้นตอนที่ 2 ขั้นระหว่างอ่าน ได้แก่ ขั้นอ่านพินิจด้วยตนเอง ขั้นครื้นเครงแลกความเห็น ขั้นใช้ให้เป็นลองฝึกหัด และขั้นตอนที่ 3 ขั้นหลังอ่าน ได้แก่ ขั้นปฏิบัติซ้ำเพื่อประเมิน 3) เมื่อทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นแล้วปรากฏว่านักศึกษามีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน4) รูปแบบการเรียนการสอนส่งผลให้นักศึกษามีคะแนนความสามารถในการอ่านตีความหลังเรียน( x= 21.70, S.D. = 4.19) สูงกว่าก่อนเรียน (x = 19.68, S.D. = 3.90) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 5) นักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat University. Office of Academic Journal Project.en_US
dc.subjectรูปแบบการเรียนการสอนen_US
dc.subjectทฤษฎีวัจนปฏิบัติศาสตร์en_US
dc.subjectการอ่านตีความen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีวัจนปฏิบัติศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านตีความของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตen_US
dc.title.alternativeA Development of an InstructIonal Model Based on Pragmatics Theory to Enhance Interpretative Reading Ability of Undergraduate Studentsen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Article Dhonburi Rajabhat University - บทความ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.