Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/1629
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฉัตรชัย, ตั้งศรีทอง-
dc.contributor.authorThongsritong, Chatchai-
dc.contributor.authorพิกุล, ภูมิโคกรักษ์-
dc.contributor.authorBhoomkhokrak, Pikul-
dc.contributor.authorนฤมล, ศักดิ์ปกรณ์กานต์-
dc.contributor.authorSakpakornkan, Narumon-
dc.date.accessioned2020-05-22T04:14:13Z-
dc.date.available2020-05-22T04:14:13Z-
dc.date.issued2019-07-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/1629-
dc.identifier.urihttps://research.dru.ac.th/o-journal/index.php?url=abstract.php&abs_id=591&jn_id=31en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2) พัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง และ 3) ประเมินรูปแบบการบริหารสถานศึกษาพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง กลุ่มตัวอย่างเพื่อศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียงมี 2 กลุ่ม คือ 1) ผู้บริหารสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ปี 2554-2556 จำนวน 4 คน ได้จากการ สุ่มแบบเจาะจงรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ 2) ผู้บริหาร หัวหน้าวิชาการ และกรรมการสถานศึกษา ที่ผ่านการประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี 2550-2559 จำนวน 355 โรงเรียน ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multistage Random Sampling) รวบรวมข้อมูลโดยการสอบถาม กลุ่มตัวอย่างเพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาพอเพียง ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 10 คน รวบรวมข้อมูลโดยวิธีการ Focus Group Discussion กลุ่มตัวอย่างเพื่อประเมินรูปแบบการบริหารสถานศึกษาพอเพียง ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และผู้บริหารระดับปฏิบัติการ จำนวน 40 คน ผลการวิจัย พบว่า 1) การศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียง ที่มีระดับการปฏิบัติค่าเฉลี่ยต่ำกว่าค่าเฉลี่ยรายด้านและต้องนำมากำหนดกรอบแนวทางการพัฒนา 5 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านที่ 2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านที่ 3 ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านที่ 4 ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา ด้านที่ 5 ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ รวม 32 ประเด็นการพัฒนา 2) การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาพอเพียงใช้วิธีการพัฒนาด้วยตนเอง และ 3) การประเมินรูปแบบการบริหารสถานศึกษาพอเพียง พบว่า ความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดและความมีประโยชน์ อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat University. Office of Academic Journal Project.en_US
dc.subjectการบริหารสถานศึกษาen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Administrative Model for Sufficiency Schools under the Primary Educational Service Area Office in Lower Northeastern Regionen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Article Dhonburi Rajabhat University - บทความ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.