Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมปอง, เรืองสมสมัย-
dc.contributor.authorRuangsomsamai, Sompong-
dc.date.accessioned2017-09-18T03:34:08Z-
dc.date.available2017-09-18T03:34:08Z-
dc.date.issued2013-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/760-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังเรียน โดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) 2)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ก่อนและหลังเรียนวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) 3)เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) กับวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 4)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ระหว่างวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) กับวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 5) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ หลังเรียนโดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนวัดทรงธรรม จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 45 ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาว่า 1)ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) หลังการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) หลังการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 3)ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู่้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) สูงกว่า วิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) สูงกว่านักเรียนที่เรียนรู้ด้วยวิธีสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 5)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ หลังจากเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat Univerity. Office of Academic Resources And Information Technologyen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์,การเรียนรู้,สมุทรปราการ,วิทยานิพนธ์en_US
dc.titleการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E's) ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดทรงธรรม จังหวัดสมุทรปราการen_US
dc.title.alternativeThe Effect of Implementing Learning Management by Inquiry Cycle (5E's) on the Science Problem Solving Abillity and Science Learning Achievement of Matthayom Suksa 1 Students Wat Songtham School Samutprakarn Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thesis Dhonburi Rajabhat University - วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
title 1.pdfปก613.71 kBAdobe PDFView/Open
title 2.pdfหน้าอนุมัติ343 kBAdobe PDFView/Open
abstract.pdfบทคัดย่อ916.28 kBAdobe PDFView/Open
acknowledgement.pdfกิตติกรรมประกาศ358.79 kBAdobe PDFView/Open
table of contents.pdfสารบัญ1.91 MBAdobe PDFView/Open
unit 1.pdfบทที่ 13.81 MBAdobe PDFView/Open
unit 2.pdfบทที่ 219.2 MBAdobe PDFView/Open
unit 3.pdfบทที่ 35.51 MBAdobe PDFView/Open
unit 4.pdfบทที่ 42.2 MBAdobe PDFView/Open
unit 5.pdfบทที่ 54.25 MBAdobe PDFView/Open
bib.pdfบรรณานุกรม3.67 MBAdobe PDFView/Open
appendix.pdfภาคผนวก46.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.