Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/1090
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกิตติเมธ, ไตรย์บุตร-
dc.contributor.authorTraibutr, Kittimate-
dc.date.accessioned2018-10-07T05:08:29Z-
dc.date.available2018-10-07T05:08:29Z-
dc.date.issued2003-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/1090-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาระดับความคาดหวังของครูเกี่ยวกับลักษณะผู้เรียนที่พึ่งประสงค์ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 2)เพื่อเปรียบเทียบความคาดหวังของครูเกี่ยวกับลักษณะผู้เรียนที่พึงประสงค์ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แยกตามเพศ ระดับการศึกษา และอายุ 3)เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการพัฒนาลักษณะผู้เรียนที่พึงประสงค์ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถามเป็นครูที่ปฏิบัติหน้าที่สอนอยู่ในโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร กรุงเทพมหานคร จำนวน 71 คน ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบ่งเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบ ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามความคาดหวังของครูเกี่ยวกับลักษณะผู้เรียนที่พึงประสงค์ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 จำนวน 54 ข้อ ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามปลายเปิดเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม การตรวจสอบเครื่องมือให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงตรงด้านเนื่อหา (Content Validity) ใช้วิธีการ IOC (Items Objective Congruence) และนำไป Try-Out หาค่าความเชื่อมั่นได้ 0.95 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป เพื่อหาความถี่ ค่าร้อยละ X, SD, และ t-test โดยสรุปผลการวิจัย ดังนี้ 1.ความคาดหวังของครูเกี่ยวกับลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนโดยรวมอยู่ในระดับ"มาก" เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับความคาดหวังอยู่ในระดับมากที่สุด คือด้านคนดีและคนมีความสุข ส่วนคนเก่งอยู่ในระดับมาก ส่วนรายข้อพบความคาดหวังอยู่ในระดับมากและมากที่สุด รองลงมา 2.เปรียบเทียบ ความคาดหวังของครูเกี่ยวกับลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนจำแนกตามเพศ พบว่า โดยส่วนรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนรายข้อพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 บางรายการ จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่า โดยส่วนรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนรายข้อพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 บางรายการ จำแนกตามอายุพบว่าโดยส่วนรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนรายข้อพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 บางรายการ 3.ปัญหาและอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการศึกษาพบว่าโรงเรียนขาดการจัดกิจกรรมหลากหลาย โดยเฉพาะกิจกรรมเสริมทักษะด้านศาสนา คุณธรรมจริยธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ควรจัดกิจกรรมทางศาสนาสอดแทรกทุกกิจกรรมการเรียนการสอนทุกวิชาen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat University. Office of Academic Resources And Information Technology.en_US
dc.subjectครูen_US
dc.subjectความคาดหวังen_US
dc.subjectลักษณะผู้เรียนen_US
dc.subjectวิทยานิพนธ์en_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีen_US
dc.titleการศึกษาความคาดหวังของครูเกี่ยวกับลักษณะผู้เรียนที่พึงประสงค์ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 กรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรen_US
dc.title.alternativeA Study of Teachers' Expectations about Students' Desirable Characterestics According to The National Education Act 1999 Case Study : Mattayom Wat Benjamaborpit Schoolen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thesis Dhonburi Rajabhat University - วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Title 1.pdfปก543.64 kBAdobe PDFView/Open
Title 2.pdfหน้าอนุมัติ538.37 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfบทคัดย่อ161 kBAdobe PDFView/Open
Ackowledgment.pdfกิตติกรรมประกาศ47.65 kBAdobe PDFView/Open
Table of contents.pdfสารบัญ2.29 MBAdobe PDFView/Open
Unit 1.pdfบทที่ 12.91 MBAdobe PDFView/Open
Unit 2.pdfบทที่ 23.73 MBAdobe PDFView/Open
Unit 3.pdfบทที่ 3743.68 kBAdobe PDFView/Open
Unit 4.pdfบทที่ 45.66 MBAdobe PDFView/Open
Unit 5.pdfบทที่ 53.33 MBAdobe PDFView/Open
Bib.pdfบรรณานุกรม736.38 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfภาคผนวก2.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.