Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/1225
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพัชรี, ปิยภัณฑ์-
dc.contributor.authorPiyapan, Patcharee-
dc.contributor.authorปรีชา, ธนะวิบูลย์-
dc.contributor.authorThanawiboon, Preecha-
dc.date.accessioned2018-12-11T09:06:38Z-
dc.date.available2018-12-11T09:06:38Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/1225-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิผลรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ดำเนินการโดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาซึ่งแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1)ศึกษาข้อมูล แนวคิด ทฤษฎีจากเอกสารและงานวิจัย เพื่อนำมาใช้ในการสังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนรู้ 2)พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยผ่านการตรวจสอบความเหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญและนำไปทดลองใช้เพื่อศึกษานำร่อง 3)นำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ไปใช้ โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบ Pretest-posttest control group design กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ชั้นปีที่ 2 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ซึ่งสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) จำนวน 2 กลุ่ม เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ใช้เวลาในการทดลอง 60 ชั่วโมง และ 4)ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐานและการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณทางเดียวแบบวัดซ้ำ (One-way MANOVA ; repeated measures) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบที่พัฒนามี 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1)การทบทวนความรู้เดิม (Reviewing) 2)การร่วมคิด (Analyzing) 3)การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Sharing) 4)การสร้างความรู้ (Constructing) และ 5)การประยุกต์ใช้ (Applying) 2.ผลการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่า 2.1 ผู้เรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ สูงกว่าผู้เรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.2 ผู้เรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถด้านการวิเคราะห์ หลังการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.3ความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนกลุ่มทดลองอยู่ในระดับมากen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat University. Office of Academic Resources And Information Technology.en_US
dc.subjectการคิดวิเคราะห์en_US
dc.subjectการเรียนรู้en_US
dc.subjectงานวิจัยen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีen_US
dc.title.alternativeThe Development of Learning Provision Model for Enhancing Analytical Thinking for Undergraduate Students Dhonburi Rajabhat Universityen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:Research Dhonburi Rajabhat University - งานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Title.pdfปก563.68 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfบทคัดย่อ544.76 kBAdobe PDFView/Open
Acknowledgement.pdfกิตติกรรมประกาศ33.21 kBAdobe PDFView/Open
Table of contents.pdfสารบัญ1.06 MBAdobe PDFView/Open
Unit 1.pdfบทที่ 11.04 MBAdobe PDFView/Open
Unit 2.pdfบทที่ 29.32 MBAdobe PDFView/Open
Unit 3.pdfบทที่ 3545.02 kBAdobe PDFView/Open
Unit 4.pdfบทที่ 42.99 MBAdobe PDFView/Open
Unit 5.pdfบทที่ 52.73 MBAdobe PDFView/Open
Bib.pdfบรรณานุกรม1.06 MBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfภาคผนวก9.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.