Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/584
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวรนันท์, เก่งรุ่งเรืองชัย-
dc.contributor.authorkhengrungruengchai, Woranan-
dc.date.accessioned2017-09-05T07:00:05Z-
dc.date.available2017-09-05T07:00:05Z-
dc.date.issued2010-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/584-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางการประกอบธุรกิจค้าของเก่า ในจังหวัดระยอง และเพื่อเปรียบเทียบแนวทางการประกอบธุรกิจค้าของเก่าของผู้ประกอบการ จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 178 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่าผู้ประกอบธุรกิจค้าของเก่ามีความคิดเห็นต่อแนวทางการประกอบธุรกิจค้าของเก่าในจังหวัดระยอง ในภาพรวม มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้ประกอบการมีความคิดเห็นโดยรวมคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2 ด้านคือประเภทของเก่าที่ให้ผลกำไร และการแก้ปัญหาของธุรกิจค้าของเก่า ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ประกอบการต่อแนวทางการประกอบธุรกิจค้าของเก่าจำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล พบว่าผู้ประกอบการที่มี อายุ จำนวนปีที่ประกอบธุรกิจค้าของเก่ารูปแบบธุรกิจค้าของเก่า จำนวนพนักงานที่ใช้ในการประกอบกิจการ มูลค่าของเก่าที่รับซื้อใน 1 วัน และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ต่างกันมีความคิดเห็นในภาพรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าผู้ประกอบการที่มีจำนวนปีที่ประกอบธุรกิจค้าของเก่าและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ต่างกัน มีความ คิดเห็น ด้านการจัดซื้อของเก่าและประเภทของเก่าที่ซื้อแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01ผู้ประกอบการที่มีอายุ จำนวนปีที่ประกอบธุรกิจค้าของเก่า รูปแบบธุรกิจค้าของเก่า จำนวนพนักงานที่ใช้ในการประกอบกิจการ และมูลค่าของเก่าที่รับซื้อ ต่างกันมีความคิดเห็น ด้านแหล่งจำหน่ายของเก่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผู้ประกอบการที่มีอายุ ระดับการศึกษา จำนวนพนักงานที่ใช้ในการประกอบกิจการ เงินทุนที่ใช้ในการประกอบธุรกิจค้าของเก่า และมูลค่าของเก่าที่รับซื้อต่างกันมีความคิดเห็น ด้านประเภทของเก่าที่ให้ผลกำไรแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผู้ประกอบการที่มีจำนวนปีที่ประกอบธุรกิจค้าของเก่า รูปแบบธุรกิจค้าของเก่าและรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน มีความคิดเห็นด้านปัญหาของธุรกิจค้าของเก่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และผู้ประกอบการที่มีรูปแบบธุรกิจค้าของเก่า จำนวนพนักงานที่ใช้ในการประกอบกิจการ มูลค่าของเก่าที่รับซื้อ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน มีความคิดเห็น ด้าน การแก้แก้ปัญหาของธุรกิจค้าของเก่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat University. Office of Academic Resources And Information Technology.en_US
dc.subjectการจัดการธุรกิจ - วิจัยen_US
dc.subjectการค้าของเก่า - วิจัยen_US
dc.subjectโบราณวัตถุ - การขาย - วิจัยen_US
dc.subjectร้านค้าของเก่า - วิจัยen_US
dc.subjectสาขาวิชาบริหารธุรกิจ (การจัดการทั่วไป)en_US
dc.subjectการค้นคว้าอิสระen_US
dc.titleแนวทางการประกอบธุรกิจค้าของเก่า ในจังหวัดระยองen_US
dc.title.alternativeAntique Business in Rayong Province.en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thesis Dhonburi Rajabhat University - วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Title1.pdfปก107.39 kBAdobe PDFView/Open
Title2.pdfหน้าอนุมัติ70.55 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfบทคัดย่อ107.66 kBAdobe PDFView/Open
Acknowledgment.pdfกิตติกรรมประกาศ69.48 kBAdobe PDFView/Open
Table of contents.pdfสารบัญ103.52 kBAdobe PDFView/Open
Unit 1.pdfบทที่ 1158.89 kBAdobe PDFView/Open
Unit 2.pdfบทที่ 2422.97 kBAdobe PDFView/Open
Unit 3.pdfบทที่ 3163.71 kBAdobe PDFView/Open
Unit 4.pdfบทที่ 42.21 MBAdobe PDFView/Open
Unit 5.pdfบทที่ 5327.48 kBAdobe PDFView/Open
Bib.pdfบรรณานุกรม120.72 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfภาคผนวก355.87 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.