Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/1836
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมานิตย์, กุศลคุ้ม-
dc.contributor.authorKusolkhum, Manit-
dc.contributor.authorวันดี, แสงขาว-
dc.contributor.authorSaengkaew, Wandee-
dc.date.accessioned2023-02-10T08:40:11Z-
dc.date.available2023-02-10T08:40:11Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/1836-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้เพื่อศึกษา 1)ระดับความรู้ความเข้าใจการเขียนโครงการ 2)สภาพปัญหาในการเขียนโครงการ 3)รวบรวมแนวทางแก้ไขปัญหาการเขียนโครงการเพื่อเสนอของบประมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา จำนวน 317 คน ได้แก่ ผู้บริหาร อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ โดยมีกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 177 คน การได้มาซี่งกลุ่มตัวอย่างใช้สูตรการคำนวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างของ Yamane, 1973 อ้างถึงใน ธีระวุฒิ เอกะกุล,2543 ที่ระดับความคลาดเคลื่อน .05 โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า(t-test) ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับความรู้ความเข้าใจการเขียนโครงการเพื่อเสนอของบประมาณประจำปีของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.24 เมื่อพิจารณาประเด็นมากที่สุด คือ สามารถตั้งชื่อโครงการที่สื่อความหมายได้อย่างชัดเจน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ3.87 อยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ สามารถเขียนแผนการดำเนินงานโครงการได้อย่างชัดเจน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.80 อยู่ในระดับมาก และมีความรู้เกี่ยวกับการติดตามประเมินผลโครงการหลังเสร็จสิ้นการดำเนินโครงการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 อยู่ในระดับมาก และลำดับน้อยที่สุด คือ สามารถเขียนหลักการและเหตุผลของโครงการสอดคล้องกับชื่อโครงการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.70 อยู่ในระดับปานกลาง 2) ระดับปัญหาในการเขียนโครงการเพื่อเสนอของบประมาณ ประจำปีของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี พบว่า ในภาพรวมทุกด้าน อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.1 เมื่อพิจารณาประเด็นมากที่สุด คือ ด้านความรู้ความเข้าใจ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ3.52 อยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านงบประมาณ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.22 อยู่ในระดับปานกลาง และด้านบุคลากร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.10 อยู่ในระดับปานกลาง และลำดับน้อยที่สุด คือ ด้านบริหารจัดการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.90 อยู่ในระดับปานกลาง 3) ข้อเสนอแนะในการศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาการเขียนโครงการเพื่อเสนอของบประมาณประจำปี ของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี พบว่า ควรจัดประชุมบุคลากรเพื่อประชุมชี้แจงการจัดทำโครงการทุกครั้งที่มีการจัดสรรงบประมาณ การทำคู่มือการเขียนโครงการเพื่อเสนอของบประมาณ จัดฝึกอบรมบุคลากรเพื่อให้เกิดความชำนาญการในการเขียนโครงการที่ถูกต้องโดยจัดส่งบุคลากรเพื่อฝึกอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการเขียนโครงการ การวิเคราะห์งบประมาณ จากหน่วยงานภายนอกที่มีการจัดฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะและประสิทธิภาพในการเขียนโครงการen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherDhonburi Rajabhat University. research and development institute .en_US
dc.subjectการเขียนโครงการen_US
dc.subjectการของบประมาณen_US
dc.subjectบุคลากรen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีen_US
dc.titleการศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาการเขียนโครงการเพื่อเสนอของบประมาณประจำปี ของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีen_US
dc.title.alternativeA study of problems and solutions to the problems of writing the annual project of personnel, Thonburi Rajabhat Universityen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:Research Dhonburi Rajabhat University - งานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Title.pdfปก191.66 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfบทคัดย่อ109.99 kBAdobe PDFView/Open
Acknowledgement.pdfกิตติกรรมประกาศ54.84 kBAdobe PDFView/Open
Table of content.pdfสารบัญ81.19 kBAdobe PDFView/Open
Unit 1.pdfบทที่ 1170.82 kBAdobe PDFView/Open
Unit 2.pdfบทที่ 2562.92 kBAdobe PDFView/Open
Unit 3.pdfบทที่ 3221.02 kBAdobe PDFView/Open
Unit 4.pdfบทที่ 4292.83 kBAdobe PDFView/Open
Unit 5.pdfบทที่ 5176.38 kBAdobe PDFView/Open
Bib.pdfบรรณานุกรม67.23 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfภาคผนวก342.46 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.